Chemical (Fuel Cell) VS Zirconia

Chemical (Fuel Cell) VS Zirconia

วันนี้เราจะมาพูดถึงข้อดีข้อเสียของออกซิเจนเซ็นเซอร์ ทั้งแบบ เคมี และแบบ zirconia ซึ่งเป็นที่นิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลายให้ฟังกัน ส่วนหลักการทำงานของเซ็นเซอร์ทั้ง 2 ชนิดนี้ ท่านผู้สนใจสามารถหาอ่านจากบทความในเพจของทาซาเทคได้โดยการ search ที่มุมบนด้านขวานะครับ

ก่อนอื่น เรามาดูการวิเคราะห์เปรียบเทียบกันระหว่าง เซนเซอร์สำหรับวัดออกซิเจนทั้งสอบแบบ ที่เป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้

 Chemical (Fuel Cell)Zirconia
ProsRobust for field useNon-Depletion cell
 Tolerate flammable / combustibles / toxic gasExtremely quick respond
 Low power consumptionAble to detect oxygen level from small sample
  Calibration doesn’t drift
 ทนทานต่อการใช้งาน ตอบสนองรวดเร็ว  
 สามารถเห็นแก๊สที่ติดไฟ แก๊สที่ทำปฏิกริยากับการเผาไหม้ แก็สพิษ สารเคมีไวไฟ ได้โดยเซนเซอร์ยังคงอ่านค่าออกซิเจนได้ปกติ  ใช้ปริมาณตัวอย่างน้อยในการอ่านค่า  
 การใช้พลังงานต่ำ ไม่มีcalibration drift  
  เซนเซอร์ไม่มีการสึกหรอ
   
ConsDepleteThere are some interference gases
 If measure in the stream where CO2 is mixed, depletion rate is very highAnd unacceptable gases
 Slow respondSensor has to be at certain temperature
 Required very large volume of sampleทำงานกับแก๊สที่สะอาด หรือแก๊สเฉื่อย   
 Frequent calibration requiredมีแก๊สอยู่บางชนิดที่ไม่สามารถเห็นได้ 
 เซนเซอร์มีอายุงาน ขึ้นอยู่กับการใช้งานว่าเกิดการสึกหรอมากน้อยแค่ไหน  แต่ส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 1-2 ปี  ใช้ไฟฟ้าในการให้ความร้อนกับเซนเซอร์
 ตอบสนองช้า   
 ต้องcalibrate อยู่บ่อยๆ   
 ต้องการแก๊สตัวอย่างในปริมาณเยอะ และต่อเนื่อง เพื่อการอ่านค่าที่แม่นยำ 
 หากวัดในแก๊สที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ผสม อัตราการสึกหรอก็จะสูงมาก 

สำหรับการสอบเทียบ (calibrate) นั้น เซนเซอร์เคมีมีอัตราการสึกหรอ ดังนั้นควรตรวจสอบ calibration ให้บ่อย โดยจะเลือกใช้ certified gas ก็ได้ หรือ air zero ก็ได้ ส่วนเซนเซอร์ zirconia ไม่มีการสึกหรอ ไม่มี calibration drift แต่หากต้องการตรวจสอบความแม่นยำของเครื่อง ก็สามารถทำได้เองด้วยการดึงออกซิเจนในบรรยากาศเข้ามาในเครื่องเพื่อเช็คความถูกต้อง

การบำรุงรักษา ไม่มีอะไรต้องใส่ใจในส่วนของเซนเซอร์ที่เลือกใช้ ถ้าเป็นเคมีก็จะสึกหรอไปตามการใช้งาน

เมื่อทราบข้อดี ข้อเสีย ของเซนเซอร์แต่ละแบบแล้ว เราก็เลือกใช้ตามความต้องการที่เหมาะสมได้ หากต้องการคุยกับผู้เชี่ยวชาญเรื่องเซนเซอร์วัดออกซิเจน ก็ติดต่อมาตามที่อยู่ด้านล่างนี้เลยนะครับ

Girl in a jacket