ทำไมต้อง Pipettes-Capillaries ในเมื่อ Laser Drilled Defects มีแล้ว และดีกว่าตั้งเยอะ

วันนี้ทาซาเทค มีเกร็ดความรู้เกี่ยวกับการทดสอบรอยรั่ว หรือ Leak Test  Technology มาฝากค่ะ

ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่าบรรจุภัณฑ์ไม่ได้มีความสมบูรณ์แบบเสมอไป มันต้องมีการผิดพลาด หรือความไม่สมบูรณ์ที่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นเอง หรืออาจจะเป็นฝีมือเราโดยไม่ได้ตั้งใจ บรรจุภัณฑ์ที่นิยมทดสอบความสมบูรณ์ การรั่วไหล หรือรอยรั่วอื่นๆกันมากที่สุด ก็คือ ขวดยา ซึ่งการเกิดรอยรั่วนี้ทำให้ของเหลว หรือสารละลายที่อยู่ภายในมีการปนเปื้อน และได้รับความเสียหาย เราจึงจำเป็นต้องทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์เพื่อให้ของเหลว หรือสารละลายคงคุณภาพอยู่ตลอด

โดยทั่วไปการทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์แบบเสมือน หรือที่เรียกกันว่าแบบจำลอง ที่ถ่ายจากภาชนะหนึ่งไปยังภาชนะหนึ่งซึ่งไม่ทำลายตัวอย่างทดสอบ หรือการทดสอบโดยใช้ ปิเปตต์ (Pipette) โดยปิเปตตต์จะทำหน้าที่เป็นบัสในการถ่ายของเหลว หรือสารละลายจากบรรจุภัณฑ์ที่ไม่มีความสมบูรณ์ หรือขวดยาที่มีการรั่วไหล, รอยรั่ว, หรือรอยแตกร้าวอื่่นๆ ไปยังอีกภาชนะหนึ่ง ปิเปตต์ (Pipette)ที่มีปลายแหลม (แหลม และเล็กมากๆ) จะเป็นตัวดูดของเหลวออกมาจากรอยรั่ว ถึงแม้ว่าการใช้ปิเปตต์ (Pipette) ในการทดสอบตัวอย่างจะไม่มีความแทรกซึมของอากาศ แต่เป็นวิธีที่ล้าสมัย และยุ่งยากในการทดสอบ ทำให้ตัวอย่างมีความบกพร่อง, ผิดพลาด, และคลาดเคลื่อน อีกทั้งได้รับผลการทดสอบที่ไม่เสถียร หรือไม่แม่นยำ เพราะเป็นแค่การทดสอบรทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์แบบเสมือน หรือที่เรียกกันว่าแบบจำลอง ไม่ใช่ของจริง จึงไม่แนะนำ

การทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์โดยการทดสอบด้วย Laser Drilled Defects หรือการเจาะด้วยเลเซอร์เข้าไปในแผงกั้นบรรจุภัณฑ์เพื่อดูการรั่วไหล, รอยรั่ว, หรือรอยแตกร้าวอื่นๆ ที่เกิดขึ้น อาจจะมีความเสี่ยงสูงในการอุดตันเมื่อทำการทดสอบ และตัวละลายที่อยู่ในขวดยาอาจโดนแทรกไว้ภายในทางผ่านที่มีรอยแตกร้าว หรือรอยรั่วระหว่างการทดสอบ เนื่องจากการระเหยของของเหลว แต่จะได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำกว่า เนื่องจากการการเจาะด้วยเลเซอร์เข้าไปในแผงกั้นบรรจุภัณฑ์ เป็นวิธีการทดสอบการรั่วไหล, รอยรั่ว, หรือรอยแตกร้าวอื่นๆ เป็นการทดสอบจริง แบบ Real Time จึงทำให้มั่นใจว่ามีตำแหน่งที่เกิดข้อบกพร่องตรงไหนบ้างได้อย่างชัดเจน

ง่ายๆคือ ขณะที่เราทำการทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์โดยการทดสอบด้วย Laser Drilled Defects หรือการเจาะด้วยเลเซอร์เข้าไปในแผงกั้นบรรจุภัณฑ์เพื่อดูการรั่วไหล, รอยรั่ว, หรือรอยแตกร้าวอื่นๆ ผลการทดสอบที่ได้ก็จะชัดเจน ถูกต้อง แม่นยำ และเสถียรกว่า เพราะเป็นการทดสอบให้ขวดยามีรอยรั่ว, รอยแตกร้าวจริง

ดังนั้น Laser Drilled Defects หรือการเจาะด้วยเลเซอร์เข้าไปในแผงกั้นบรรจุภัณฑ์เพื่อดูการรั่วไหล, รอยรั่ว, หรือรอยแตกร้าวอื่นๆ ที่เกิดขึ้น เป็นวิธีพื้นฐานในการทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองแล้ว แต่อาจจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อผิดพลาดจนทำให้ของเหลว หรือสารละลายที่อยู่ภายในมีการปนเปื้อน การเจาะด้วยเลเซอร์เข้าไปในแผงกั้นบรรจุภัณฑ์จึงเป็นวิธีที่ท้ายทายเกินไป  แต่เป็นการทดลองแบบจริง หรือแบบ real time ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำ และเสถียรกว่าการใช้ปิเปตต์ (Pipette)ในการดูดของเหลว หรือสารละลายภายในบรรจุภัณฑ์ที่เป็นแบบเสมือน หรือที่เรียกกันว่าแบบจำลอง วิธีนี้อาจจะไม่เกิดการแทรกผ่านของสิ่งแปลกปลอมอื่น แต่ผลการทดสอบที่จะมีความบกพร่อง, ผิดพลาด, และคลาดเคลื่อน อีกทั้งได้รับผลการทดสอบที่ไม่เสถียร หรือไม่แม่นยำ

Preferential conditions

Laser Drilled Defects

-Naturally occurring defects and laser defects are susceptible to blockage when testing.

-Solutes may be deposited internal to the defect passage during testing due to liquid vaporization.

Pipettes-Capillaries

-Pipettes draw liquid through the calibrated defect into the pipette cavity ahead of test.

-Volume of liquid exposed to vacuum with low potential for solute blockage before test.

-Ideal condition for detection.

-Not representative of naturally occurring defects.

หากลูกค้าสนใจเกี่ยวกับการทดสอบความสมบูรณ์ของบรรจุภัณฑ์ หรือ Leak Test  Technology สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมกับทาซาเทคได้ที่

Girl in a jacket